Would you like to react to this message? Create an account in a few clicks or log in to continue.

สูตรคำนวณสำหรับประเมินสภาวะโภชนาการ

Go down

สูตรคำนวณสำหรับประเมินสภาวะโภชนาการ Empty สูตรคำนวณสำหรับประเมินสภาวะโภชนาการ

ตั้งหัวข้อ  labplusone Thu Jun 04, 2009 11:57 pm

สูตรคำนวณสำหรับประเมินสภาวะโภชนาการ


ประเมินความเหมาะสมของภาวะน้ำหนักตัว
หาดัชนีมวลกาย (The Body Mass index or BMI)
 BMI = น้ำหนักตัว (ก.ก)/ส่วนสูง(เมตร)2 = ก.ก/เมตร2
 BMI = 18.5-24.9 = น้ำหนักปกติ

* ข้อเสียของ BMI :ไม่บอกปริมาณร้อยละของไขมันในร่างกาย
* นิยมใช้ในหมู่นักวิชาการ และการวิจัย

Classification of Obesity
Classification BMI (kg/m2) Risk of - Comorbidities
Underweight <18.5 Low (but risk of other problems increased)

Normal range 18.5-24.9 Average
Overweight 25
Pre - obese 25.0-29.9 Increased
Obese class I 30.0-34.9 Moderate
Obese class II 25.0-39.9 Severe
Obese class III 40.0 Very severe

International Obesity Task Force (IOTF) Report

วิธีคำนวณน้ำหนักมาตรฐาน 1. หาน้ำหนักมาตรฐาน (Desirable body weight)
ชาย : ส่วนสูง -100 = DBW
หญิง : (ส่วนสูง -100) -10% ( ส่วนสูง -100)
= DBW
+ 3- 5 ก.ก. ขึ้นกับขนาดรูปร่าง

คำนวณพลังงานจากน้ำหนักตัวและระดับกิจกรรม

Sedentary Moderate Active
น.น. เกิน 20-25 30 35
น.น. ปกติ 30 35 40
Under weight 30 40 45-50

ตัวอย่าง ก. มีน้ำหนักตัว 60 ก.ก. ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีระดับกิจกรรมปานกลาง ความต้องการพลังงานของ ก.
= 60 x 35 = 2100 กิโลแคลอรี / วัน

วิธีประเมินความต้องการพลังงานในเด็ก
วิธีที่ 1 จากRecommended Dietary Allowance (RDA)

อายุ พลังงานเฉลี่ย โปรตีน
0-6 เดือน 108 kcal/kg 2.2 g/kg
6-12 เดือน 98 kcal/kg 1.6 g/kg
1-3 ปี 102 kcal/kg 1.2 g/kg
4-6 ปี 90 kcal/kg 1.1 g/kg
7-10 ปี 70 kcal/kg 1.0 g/kg



การคำนวณพลังงานในเด็ก
วิธีที่ 2 อายุ 0-10 ปี
1000 แคลอรี สำหรับ 1 ปีแรก+(100 แคลอรี x อายุ)

ตัวอย่าง เด็กอายุ 5 ขวบต้องการพลังงาน
= 1000 + (100 x 5 ) = 1500 กิโลแคลอรี


การคำนวณพลังงานในเด็กหญิง 11-15 ปี

วิธีที่ 2 1000 กิโลแคลอรีในขวบปีแรก +
(100กิโลแคลอรี x อายุเด็กถึง 10 ปี)
เด็กผู้หญิง 11-15 ปี
บวก (<100 กิโลแคลอรี x อายุหลังจาก 10 ปี )
ตัวอย่าง เด็กหญิงอายุ14 ปี ต้องการพลังงาน
= 1000+(100 x 10)+(100 x 4)
= 2400 กิโลแคลอรี
เด็กผู้หญิง > 15 ปี คำนวณ เหมือนผู้ใหญ่


การคํานวณพลังงานในเด็กชาย
เด็กผู้ชาย 11-15 ปี
• บวก (200 กิโลแคลอรี ่x อายุหลังจาก 10 ปี)
เด็กผู้ชาย > 15 ปี
• very active 50 แคลอรี/นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม
• normal activity 40 กิโลแคลอรี/นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม
sedentary 30-35 กิโลแคลอรี/นํ้าหนักตัว 1 กิโลกรัม





การคำนวณพลังงานในเด็ก
วิธีที่ 3 1000 กิโลแคลอรีในขวบปีแรก
• เด็กผู้ชาย บวก (125 กิโลแคลอรี x อายุเด็ก)
• เด็กผู้หญิง บวก (100 กิโลแคลอรี x อายุเด็ก )
• กรณีที่เด็ก active เพิ่มพลังงานไม่เกิน 20%
เด็กวัยเตาะแตะ 1-3 ปี พลังงาน = 40 กิโลแคลอรี /ส่วนสูง 1 นิ้ว


การคำนวณพลังงานในผู้ใหญ่ • งานหนัก 31-35 แคลอรี / น้ำหนักมาตรฐาน 1 กิโลกรัม
• งานปานกลาง 26-31 แคลอรี / น้ำหนักมาตรฐาน 1 กิโลกรัม
• งานเบา 22-26 แคลอรี / น้ำหนักมาตรฐาน 1 กิโลกรัม
• งานเบา อายุ > 55 ผู้ที่อ้วน และหรือกิจกรรมการใช้พลังงานต่ำ
22 แคลอรี / น้ำหนักมาตรฐาน 1 กิโลกรัม

การคำนวณพลังงานในหญิงตั้งครรภ์
• ช่วง 3 เดือนแรก 26-35 แคลอรี / น้ำหนัก 1 กิโลกรัม
• หลังจาก 3 เดือน 29-37 แคลอรี / น้ำหนัก
1 กิโลกรัม (อาจจะต้องลดแคลอรี ถ้าอ้วนหรือมี
น้ำหนักขึ้นเร็วเกินควร หรือผู้ใช้แรงงานเบา)
ช่วงให้นมบุตร 33-37 แคลอรี / น้ำหนัก 1 กิโลกรัม

การคำนวณความต้องการพลังงานวิธีของ Harris Benedict Equation (HBE) • ใช้ส่วนสูง น้ำหนัก อายุ ในการคำนวณหาพลังงานชั้นต่ำสุดที่ร่างกายต้องการ
ในภาวะ fasting state
• ชาย: BEE = 66.5+(13.8 x w)+(5.0 x H)-(6.8 x A)
• หญิง: BEE = 665.1+(9.6 x w)+(1.8 x H)-(4.7 x A)
W = น้ำหนักเป็นกิโลกรัม H = ส่วนสูงเป็นเซนติเมตร
A = อายุเป็นปี
Total energy expenditure (TEE)
TEE = BEE x activity factor x injury factor ใช้เพื่อ ADMIT ร.พ.

Adjusted Ideal Body Weight (AIBW)
ในคนอ้วนที่มี น้ำหนักตัว = 125 % IBW
W ในสูตร ต้องใช้ AIBW
AIBW = (AW – IBW) 0.25 + IBW
AW = actual weight (น้ำหนักปัจจุบัน)


Activity Factors
Restricted 1.1 ON VENTILATOR
Sedentary 1.2 BED REST
Aerobic 3 x/ week 1.3 ACTIVITY ปกติ, EXERCISE
5 x/ week 1.5 ออกกำลังกาย
7 x/ week 1.6
True athlete 1.7 นักกีฬา


Activity Factors
Surgery factor : minor 1.0-1.1
major 1.1-1.2
Infection: mild 1.0-1.2 moderate 1.2-1.4
severe 1.4-1.8
Trauma: skeletal 1.2-1.35
blunt 1.15-1.35
Head trauma treated with steroids 1.6

Burns: Up to 20% body surface area (BSA) = 1.0-1.5
20%-40% BSA = 1.5-1.85
40% BSA = 1.85-1.95

การคำนวณหาปริมาณโปรตีนที่ร่างกายต้องการ
ภาวะของร่างกาย ปริมาณโปรตีนที่ร่างกายต้องการ
(กรัม/น.น.ตัวเป็นกิโลกรัม)

น้ำหนักปกติ 0.8
มีไข้ มีแผลติดเชื้อ กระดูกหัก 1.5-2.0
ภาวะขาดโปรตีน 1.5-2.0
ไฟลวก 1.5-3.0


****************************
[tr][td]
labplusone
labplusone
Admin

จำนวนข้อความ : 15
Join date : 29/05/2009
ที่อยู่ : 3850/2 ถนนพระราม 4 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. 10110

https://labplusone.thai-forum.net

ขึ้นไปข้างบน Go down

ขึ้นไปข้างบน


 
Permissions in this forum:
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ